Present Continuous Tense
โครงสร้าง: Subject + is, am, are + Verb -ing + ( Object )
โครงสร้าง: Subject + is, am, are + Verb -ing + ( Object )
หลักการใช้
1. เมื่อการกระทำดำเนินอยู่ในปัจจุบัน(ขณะพูด)และต่อเนื่องมาถึงบัดนั้น และจบในอนาคต เช่น
-My uncle is listening to the radio.(ลุงของผมกำลังฟังวิทย)ุ
-What is he doing? (เขากำลังทำอะไรเหรอ?)
2. การกระทำที่เกิดขึ้น ต้องเกิดขึ้นขณะนั้นจริง เช่น
-More and more people are using Internet. (ผู้คนเริ่มเล่นอินเทอร์เน็ตมากขึ้นทุกที)
-Accidents are happening more and more frequently. (อุบัติเหตุเกิดขึ้นมากและบ่อยขึ้น)
-More and more people are using Internet. (ผู้คนเริ่มเล่นอินเทอร์เน็ตมากขึ้นทุกที)
-Accidents are happening more and more frequently. (อุบัติเหตุเกิดขึ้นมากและบ่อยขึ้น)
3. แสดงเหตุการณ์ในอนาคต เกิดขึ้นแน่นอน เช่น
-We are planning to go to the beach next week. (พวกเราวางแผนจะไปเที่ยวทะเลอาทิตย์หน้า)
-She is going abroad next Tuesday. (หล่อนจะไปต่างประเทศวันอังคารหน้า)
-We are planning to go to the beach next week. (พวกเราวางแผนจะไปเที่ยวทะเลอาทิตย์หน้า)
-She is going abroad next Tuesday. (หล่อนจะไปต่างประเทศวันอังคารหน้า)
4. ถ้าประโยคเชื่อมด้วย and ( 2 ประโยค) ให้ตัด Verb to be ที่อยู่หลัง and ออก เช่น
-My father is smoking a cigarette and watching television. (คุณพ่อของฉันกำลังสูบบุหรี่และดูโทรทัศน)์
*กริยาที่นำมาใช้ใน Tense นี้ไม่ได้!!!*
1. กริยาที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น
I see the beautiful mountain.(ฉันดูภูเขาอันงดงาม) ไม่ใช้ I am seeing the beautiful mountain.
2. กริยาที่แสดงถึงภาวะของจิต, แสดงความรู้สึก, ความผูกพัน ไม่นิยมนำมาใช้ เช่น
I know him very well (ผมรู้จักเขาดี) อย่าใช้ : I am knowing him very well.
He believes that taxes are too high.(เขาเชื่อว่าภาษีแพงเกินไป) อย่าใช้ : He is believing that taxes are too high.
-My father is smoking a cigarette and watching television. (คุณพ่อของฉันกำลังสูบบุหรี่และดูโทรทัศน)์
*กริยาที่นำมาใช้ใน Tense นี้ไม่ได้!!!*
1. กริยาที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น
I see the beautiful mountain.(ฉันดูภูเขาอันงดงาม) ไม่ใช้ I am seeing the beautiful mountain.
2. กริยาที่แสดงถึงภาวะของจิต, แสดงความรู้สึก, ความผูกพัน ไม่นิยมนำมาใช้ เช่น
I know him very well (ผมรู้จักเขาดี) อย่าใช้ : I am knowing him very well.
He believes that taxes are too high.(เขาเชื่อว่าภาษีแพงเกินไป) อย่าใช้ : He is believing that taxes are too high.
หลักการเติม -ing
1). กริยาที่ลงท้ายด้วย E ให้ตัด E ทิ้ง แล้วเติม -ing
2). กริยาที่ลงท้ายด้วย EE ให้เติม -ing ได้เลย
3). กริยาที่ลงท้ายด้วย IE ให้เปลี่ยนเป็น Y ก่อน แล้วเติม -ing
4). กริยาที่มีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว พยางค์เดียว เพิ่มตัวสะกดอีกตัวหนึ่ง แล้วเติม -ing
5). กริยาที่มี 2 พยางค์ออกเสียงหนักที่พยางค์หลัง มีสระและตัวสะกดตัวเดียว เพิ่มตัวสะกด แล้วเติม -ing
6). กริยา 2 พยางค์ต่อไปนี้ เพิ่มตัวสะกดเข้ามาแล้วเติม -ing หรือไม่ก็ได้
1). กริยาที่ลงท้ายด้วย E ให้ตัด E ทิ้ง แล้วเติม -ing
2). กริยาที่ลงท้ายด้วย EE ให้เติม -ing ได้เลย
3). กริยาที่ลงท้ายด้วย IE ให้เปลี่ยนเป็น Y ก่อน แล้วเติม -ing
4). กริยาที่มีสระตัวเดียว ตัวสะกดตัวเดียว พยางค์เดียว เพิ่มตัวสะกดอีกตัวหนึ่ง แล้วเติม -ing
5). กริยาที่มี 2 พยางค์ออกเสียงหนักที่พยางค์หลัง มีสระและตัวสะกดตัวเดียว เพิ่มตัวสะกด แล้วเติม -ing
6). กริยา 2 พยางค์ต่อไปนี้ เพิ่มตัวสะกดเข้ามาแล้วเติม -ing หรือไม่ก็ได้
**********************************
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น